คำไวพจน์ คืออะไร?

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนต่างกันหรือใช้ในบริบทต่างกัน รวบรวมรายชื่อคำไวพจน์ พร้อมความหมาย การนำไปใช้ และตัวอย่างการใช้งานคำไวพจน์ในโอกาสต่าง ๆ แยกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ผู้สนใจทั่วไปศึกษาค้นคว้าได้ง่าย

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนต่างกันหรือใช้ในบริบทต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า คำพ้องความ / การหลากคำ / คำพ้องรูป / คำพ้องความหมาย

คำพ้องมีกี่ประเภท?

ปัจจุบัน มีการศึกษาคำที่พ้อง และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง และคำพ้องความหมายหรือคำพ้องความ

คำพ้องรูป คือคำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้ เช่น คำว่า ชิน แปลว่า คุ้นจนเจน หรือผู้ชนะ หรือเนื้อโลหะเจือชนิดหนึ่ง

คำพ้องเสียง (คำไวพจน์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร) คือคำที่เขียนต่างกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงเหมือนกัน เช่น คำว่า ใจ กับ ไจ จร กับ จอน

คำพ้องความ (คำไวพจน์ของพจนานุกรมราชบัณฑิตฯ) คือคำต่างรูป ต่างเสียง แต่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน เช่น กิน กับ รับประทาน กัลยา นารี สุดา สมร หญิง เป็นคำพ้องความกัน

คำไวพจน์ น่ารู้ในภาษาไทย

รวมตัวอย่างคำไวพจน์ หรือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน มาไว้ดังนี้


คำไวพจน์ พระพุทธเจ้า

คำไวพจน์ พระพุทธเจ้า = โลกชิต / พระสัมมาสัมพุทธเจ้า / พระชินสีห์ / พระสุคต / พระธรรมราช / พระโลกนาถ / ชินศรี / พระผู้มีพระภาคเจ้า / พระชินวร / พระทศพลญาณ / พระศากยมุนี / มารชิต / พระสมณโคดม / พระทศญาณ / พระสัพพัญญู / พระตถาคต
  • ชินศรี
  • พระชินวร
  • พระชินสีห์
  • พระตถาคต
  • พระทศญาณ
  • พระทศพลญาณ
  • พระธรรมราช
  • พระผู้มีพระภาคเจ้า
  • พระศากยมุนี
  • พระสมณโคดม
  • พระสัพพัญญู
  • พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
  • พระสุคต
  • พระโลกนาถ
  • มารชิต
  • โลกชิต

คำไวพจน์ สวรรค์

คำไวพจน์ สวรรค์ = สุริยโลก / ศิวโลก / สุราลัย / สุขาวดี / สรวง / ไตรทศาลัย / ไตรทิพย์ / เทวโลก / สุคติ / ไทวะ / เทวาลัย / เทวาวาส
  • ศิวโลก
  • สรวง
  • สุขาวดี
  • สุคติ
  • สุราลัย
  • สุริยโลก
  • เทวาลัย
  • เทวาวาส
  • เทวโลก
  • ไตรทศาลัย
  • ไตรทิพย์
  • ไทวะ

คำไวพจน์ เทวดา

คำไวพจน์ เทวดา = นางฟ้า / เทวัญ / เทพ / ปรวาณ / สุรารักษ์ / เทวา / อมร / นิรชรา / แมน / เทว / เทวินทร์ / สุร / ไตรทศ / เทวารัณย์ / เทเวศร์ / เทเวศวร์ / เทเวศ / เทวาคาร / เทเวนทร์
  • นางฟ้า
  • นิรชรา
  • ปรวาณ
  • สุร
  • สุรารักษ์
  • อมร
  • เทพ
  • เทว
  • เทวัญ
  • เทวา
  • เทวาคาร
  • เทวารัณย์
  • เทวินทร์
  • เทเวนทร์
  • เทเวศ
  • เทเวศร์
  • เทเวศวร์
  • แมน
  • ไตรทศ

คำไวพจน์ พระอิศวร

คำไวพจน์ พระอิศวร = ศิวะ / ภูเตศวร / ปศุบดี / บิดามห / ตรีโลกนาถ / จันทรเศขร / ศังกร / ทรงอินทรชฎา / มหาเทพ / มเหศวร / ศุลี / ภูเตศ
  • จันทรเศขร
  • ตรีโลกนาถ
  • ทรงอินทรชฎา
  • บิดามห
  • ปศุบดี
  • ภูเตศ
  • ภูเตศวร
  • มหาเทพ
  • มเหศวร
  • ศังกร
  • ศิวะ
  • ศุลี

คำไวพจน์ พระพรหม

คำไวพจน์ พระพรหม = พระทรงหงส์ / นิรทรุหิณ / วิธาดา / สรษดา / สรษดา / ธาดา / จัตุพักตร์ / ปรชาบดี / กมลาสน์ / กัมลาศ
  • กมลาสน์
  • กัมลาศ
  • จัตุพักตร์
  • ธาดา
  • นิรทรุหิณ
  • ปรชาบดี
  • พระทรงหงส์
  • วิธาดา
  • สรษดา

คำไวพจน์ พระวิษณุ

คำไวพจน์ พระวิษณุ = พระนารายณ์ / พระจักรี / มาธพ / ศางดี / ไตรวิกรม / กฤษณะ / สวภู / ไกษพ / จักรปาณี / ไวกุณฐ์ / ธราธร / ธราธาร / พระกฤษณ์
  • กฤษณะ
  • จักรปาณี
  • ธราธร
  • ธราธาร
  • พระกฤษณ์
  • พระจักรี
  • พระนารายณ์
  • มาธพ
  • ศางดี
  • สวภู
  • ไกษพ
  • ไตรวิกรม
  • ไวกุณฐ์

คำไวพจน์ พระอินทร์

คำไวพจน์ พระอินทร์ = หัสนัยน์ / โกสีย์ / สหัสนัยน์ / อมรินทร์ / ตรีเนตร / ท้าวพันตา / สหัสโยนี / เพชรปราณี / อินทรา / มัฆวาน / มรุตวาน / วัชรินทร์ / เทพาธิบดี / วชิราวุธ / สักกะ / อมเรศร / พันเนตร / โกสินทร์ / โกษี / วชิรปาณี
  • ตรีเนตร
  • ท้าวพันตา
  • พระอินทร์
  • พันเนตร
  • มรุตวาน
  • มัฆวาน
  • วชิรปาณี
  • วชิราวุธ
  • วัชรินทร์
  • สหัสนัยน์
  • สหัสโยนี
  • สักกะ
  • หัสนัยน์
  • อมรินทร์
  • อมเรศร
  • อินทรา
  • เทพาธิบดี
  • เพชรปราณี
  • โกษี
  • โกสินทร์
  • โกสีย์

คำไวพจน์ พระเจ้าแผ่นดิน

  • กษัตร
  • กษัตริย์
  • กษัตรีศูร
  • ขัตติยวงศ์
  • จอมราช
  • ท่านไท้ธรณี
  • ท้าวธรณิศ
  • ธรณิศ
  • ธรณิศร
  • ธรณิศวร์
  • ธรณีศวร
  • ธราธิบดี
  • ธราธิป
  • ธรารักษ์
  • ธเรศ
  • นรินทร์
  • นฤบดี
  • นฤเบศน์
  • นโรดม
  • บดินทร์
  • ปิ่นเกล้าธาษตรี
  • พระเจ้าเเผ่นดิน
  • ภูบดินทร์
  • ภูบดี
  • ภูบาล
  • ภูมินทร์
  • ราชา
  • ราเชนทร์
  • เจ้าหล้า
  • ในหลวง
  • ไท้ธาษตรี

คำไวพจน์ พระอาทิตย์

  • ตะวัน
  • ทยุมณี
  • ทินกร
  • ทิพากร
  • ทิวากร
  • ประภากร
  • พรมัน
  • ภาณุ
  • ภาณุมาศ
  • ภาสกร
  • รพิ
  • รวิ
  • รวี
  • ระพี
  • สุริยง
  • สุริยน
  • สุริยะ
  • สุริยัน
  • สุริยา
  • อหัสกร
  • อังศุมาลี
  • อาคิรา
  • อาภากร
  • อุษณรศมัย
  • ไถง

คำไวพจน์ พระจันทร์

  • กลา
  • กัษษากร
  • จันท์
  • จันทร์
  • ตโมนุท
  • ตโมหร
  • นิศากร
  • นิศานาถ
  • นิศาบดี
  • นิศามณี
  • นิศารัตน์
  • บริมาส
  • บุหลัน
  • ปักษธร
  • พิธุ
  • มนทก
  • มา
  • มาภา
  • มาส
  • รชนีกร
  • รัชนีกร
  • รัตติกร
  • ราศี
  • วิธู
  • ศศธร
  • ศศพินทุ์
  • ศศลักษณ์
  • ศศิ
  • ศศิกษัย
  • ศศิขัณฑ์
  • ศศิธร
  • ศศิน
  • ศศิมณฑล
  • ศศิวิมล
  • ศศี
  • ศิตางคุ์
  • ศิวเศขร
  • สะสิ
  • สะสิน
  • สิตางศุ์
  • สีตลรัศมี
  • สุมะ
  • อรรธจันทร์
  • อัฒจันทร์
  • อินทุ
  • เขน
  • เดือน
  • เดือนค้างฟ้า
  • แข
  • แถง
  • โทษากร
  • โทษารมณ์
  • โสม

คำไวพจน์ คำพูด

  • ถ้อย
  • พจนา
  • พากย์
  • พาที
  • พูดจา
  • วจี
  • วัจนะ
  • วัจนา
  • วาจา

คำไวพจน์ ครุฑ

  • กาศยป
  • ขนบคาศน์
  • ขเดศวร
  • นาคานดก
  • นาคานตกะ
  • ปันนคนาสน์
  • วิษณุรถ
  • สุบรรณ
  • สุวรรณกาย
  • เวนไตย
  • ไวนเตยะ

คำไวพจน์ งู

  • นาคราช
  • นาคา
  • ภุชงค์
  • อสรพิษ
  • อหิ
  • อุรค
  • เงี้ยว
  • เทียรฆชาติ

คำไวพจน์ ปลา

  • ชลจร
  • ปุถุโลม
  • มัจฉา
  • มัจฉาชาติ
  • มัสยา
  • มิต
  • มีน
  • มีนา
  • วารีชาติ
  • อัมพุชา

คำไวพจน์ นก

  • ทวิช
  • ทวิชาชาติ
  • ทิชากร
  • ทิชาชาติ
  • บุหรง
  • ปักษา
  • ปักษิณ
  • ปักษี
  • วิหค
  • สกุณ
  • สกุณา
  • สกุณี
  • สุโนก

คำไวพจน์ ช้าง

  • กรินทร์
  • กรี
  • กุญชร
  • คช
  • คชา
  • คชาธาร
  • คชินทร์
  • คเชนทร์
  • ดำริ
  • วารณ
  • สาร
  • หัตถี
  • หัสดินทร์
  • หัสดี
  • ไอยรา

คำไวพจน์ นรก

  • ทุคติ
  • นรก
  • นารก
  • นิรย

คำไวพจน์ น้ำ

  • คงคา
  • ชลธาร
  • ชลธี
  • ชลาลัย
  • ชลาศัย
  • ชโลทร
  • ทึก
  • ธาร
  • ธารา
  • นที
  • รัตนากร
  • สมุทร
  • สลิล
  • สาคร
  • สาคเรศ
  • สินธุ์
  • สินธุ
  • หรรณพ
  • อรรณพ
  • อัมพุ
  • อาโป
  • อุทก
  • อุทก
  • อุทกธารา

คำไวพจน์ แผ่นดิน

  • กษมา
  • ด้าว
  • ธรณิน
  • ธรณี
  • ธรา
  • ธราดล
  • ธริษตรี
  • ธาตรี
  • ธาษตรี
  • ธเรษตรี
  • ปฐพี
  • ปฐวี
  • ปัถพี
  • พสุธา
  • พสุธาดล
  • พสุนทรา
  • พสุมดี
  • พิภพ
  • พื้นดิน
  • ภพ
  • ภูตลา
  • ภูมิ
  • ภูวดล
  • มหิ
  • หล้า
  • เมธินี
  • โลกธาตุ

คำไวพจน์ เมือง

  • กรุง
  • ธานิน
  • ธานินทร์
  • ธานี
  • นคร
  • นครา
  • นครินทร์
  • นคเรศ
  • บุรินทร์
  • บุรี
  • ประเทศ
  • ปุระ
  • พารา
  • สถานิย

คำไวพจน์ เมืองหลวง

  • ราชธานี
  • หัวเมือง
  • เมืองศูนย์กลาง
  • เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล

คำไวพจน์ คน

  • ชน
  • นร
  • บุรุษ
  • มนุษย์
  • มรรตย
  • มานพ

คำไวพจน์ นางอุมา

  • กาตยายนี
  • จัณฑี
  • นางกาลี
  • ภวาณี
  • รุทธานี
  • เคารี
  • ไหมวดี

คำไวพจน์ ลูกชาย

  • กูน
  • ตนุช
  • บุตร
  • ปรัตยา
  • เอารส
  • โอรส

คำไวพจน์ ลูกสาว

  • ทุหิตา
  • ธิดา
  • ธิตา
  • บุตรี
  • สุดา

คำไวพจน์ ผู้ชาย

คำไวพจน์ ผู้ชาย = พ่อ / ผม / เด็กผู้ชาย / ผัว / บุรุษ / ชาย / สุดหล่อ / น้อย / ปู่ / ภราดร / พระ / กนิษฐภาดา / ภิกษุ / ปิตุละ, ปิตุลา / พระหน่อ / วีรบุรุษ / ธ / คนดิบ / ต้น / ชายชาตรี / ลูกผู้ชาย / นายหัว / ดอล / บา / เจ้าบ่าว / กระทาชาย / กระผม / เรียม / เทพบุตร / พระหน่อเนื้อ / ลุง / อนุชา / คนสุก / ทิด / ขันที / คุณชาย / พ่อหนุ่ม
  • กนิษฐภาดา
  • กระทาชาย
  • กระผม
  • กระหม่อม
  • กระไทชาย
  • กะกัง
  • คุณชาย
  • ชาย
  • ชายชาตรี
  • ดอล
  • ต้น
  • ตัวพระ
  • ตี๋
  • ท่านชาย
  • ท้าว
  • ทิด
  • น้อย
  • นายหัว
  • บัก
  • บา
  • บ่าวน้อย
  • บุรุษ
  • ประสก
  • ปั่ว
  • ปิตุละ
  • ปิตุลา
  • ปุม-
  • ปุมา
  • ปู่
  • ผม
  • ผัว
  • พระ
  • พระปิตุลา
  • พระรอง
  • พระฤๅสาย
  • พระหน่อ
  • พระหน่อเนื้อ
  • พระเอก
  • พ่อ
  • พ่อพลาย
  • พ่อหนาน
  • พ่อหนุ่ม
  • พ่อเล้า
  • พ่อเลี้ยง
  • ภราดร
  • ภราดา
  • ภาดร
  • ภาดา
  • ภาตา
  • ภาตุ
  • ภาติกะ
  • ภาติยะ
  • ภิกษุ
  • มัชฌิมบุรุษ
  • มาณพ
  • ยุว
  • ยุวา
  • ยุวาน
  • ฤๅสาย
  • ลื้อ
  • ลุง
  • ลูกผู้ชาย
  • วีรบุรุษ
  • สมิงมิ่งชาย
  • สุดหล่อ
  • หนุ่มน้อย
  • หลวง
  • อนุชา
  • อา
  • อ้าย
  • ฮาจย์
  • เกล้ากระผม
  • เกล้ากระหม่อม
  • เขย
  • เจ้าบ่าว
  • เชษฐา
  • เด็กผู้ชาย
  • เถ้าแก่
  • เทพบุตร
  • เรียม
  • เสี่ย
  • เฮีย
  • แป๊ะ

คำไวพจน์ ผู้หญิง

คำไวพจน์ ผู้หญิง = ยุพิน / นารี / บังอร / สมร / กัญญา / ดรุณี / แก้วตา / กันยา / นงคราญ / อรไท / นงเยาว์ / กัลยาณี / สตรี / กานดา / อนงค์ / วนิดา / นงลักษณ์ / มารศรี / ดวงสมร / นงราม / สุดา / เพาโพท / ร้อยชั่ง / นงพะงา / ยุพดี / สัตรี
  • กัญญา
  • กันยา
  • กัลยา
  • กัลยาณี
  • กานดา
  • กามินี
  • จอมขวัญ
  • ดรุณี
  • ดวงตา
  • ดวงสมร
  • ทรามวัย
  • ทรามเชย
  • นงคราญ
  • นงพะงา
  • นงราม
  • นงลักษณ์
  • นงเยาว์
  • นวลหง
  • นาฏ
  • นารี
  • นาเรศ
  • นุช
  • บังอร
  • พธู
  • พนิดา
  • มารศรี
  • ยพุเรศ
  • ยุพดี
  • ยุพา
  • ยุพิน
  • ยุพเยาว์
  • ยุพเรศ
  • ยุวดี
  • ร้อยชั่ง
  • วนิดา
  • วรางคณา
  • สตรี
  • สมร
  • สัตรี
  • สายสมร
  • สายสวาท
  • สุดา
  • อนงค์
  • อรทัย
  • อรไท
  • อิตถี
  • อิสตรี
  • อีตถี
  • เกน
  • เกศินี
  • เพาโพท
  • เยาวรักษณ์
  • เยาวลักษณ์
  • เยาวเรศ
  • แก้วตา
  • แน่งน้อย
  • โฉมงาม
  • โฉมตรู

คำไวพจน์ ที่เรารวบรวมไว้ ล้วนเป็นคำที่สามารถใช้แทนกันได้ทั้งหมด เพื่อประโยชน์ในการเลือกใช้คำที่สละสลวย และเหมาะสมกับบริบทที่ต้องการ แต่ยังคงความหมายเดิม เหมาะสำหรับการนำไปใช้แต่งกาพย์ กลอน โครง และร้อยแก้วร้อยกรอง


ทางทีมงานจะทำการรวบรวมคำไวพจน์เรื่อย ๆ เพื่ออุทิศให้เป็นส่วนหนึ่งในคลังข้อมูลภาษาไทยให้คงอยู่สืบไป

 แสดงความคิดเห็น
 คำไวพจน์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ